ภาวะแพ้แฝงทำให้เกิดอาการเรื้อรังได้ เช่น เป็นสิว ท้องอืด ปวดศีรษะ การตรวจช่วยให้หลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่ออาการดังกล่าวได้
รายละเอียด
ทำไมคนอื่นซื้อแพ็กเกจนี้?
🍽️ คุณรู้หรือไม่? อาการที่คุณเผชิญ อาจเกิดจากการแพ้อาหารแฝง! หากคุณรู้สึกท้องอืด ปวดท้อง หรือมีผื่นคันบ่อยครั้ง อาจเป็นสัญญาณว่าร่างกายของคุณไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้อย่างเหมาะสม การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง (IgG 222 Food Allergens) ที่ bewellasia.co จะช่วยให้คุณค้นหาต้นตอของอาการเหล่านี้ เพื่อให้คุณได้กลับไปใช้ชีวิตอย่างมีความสุข!
🏥 บริการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง 222 ชนิด ของเราช่วยให้คุณรู้ว่าคุณแพ้อาหารชนิดใดบ้าง โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและการตรวจวิเคราะห์ที่แม่นยำ นอกจากนี้ยังใช้เวลาเพียง 30 นาทีในการตรวจ และคุณจะได้รับผลภายใน 4-7 วันเท่านั้น!
💡 ทำไมต้องตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง?
- ช่วยให้คุณปรับเปลี่ยนการรับประทานอาหารให้เหมาะสม ลดอาการไม่สบายต่างๆ
- สามารถช่วยให้คุณหลีกเลี่ยงอาหารที่อาจทำให้เกิดอาการเรื้อรังในอนาคต
🛌 อย่าปล่อยให้ความไม่สบายนี้รบกวนชีวิตคุณอีกต่อไป! การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝงไม่ใช่เพียงแค่การวินิจฉัย แต่เป็นการช่วยให้คุณมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น! จองบริการกับเราได้ง่ายๆ ผ่าน HDmall.co.th และเริ่มต้นการเดินทางสู่สุขภาพที่ดีขึ้นวันนี้!
ให้เราช่วยคุณค้นหาความสุขในการกินอาหารอีกครั้ง!
รายละเอียด
รายละเอียดราคา ตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
- ค่าตรวจสารก่อภูมิแพ้อาหารแฝง 222 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
- ผงวุ้น (Agar Agar)
- สาหร่ายเอสสปาเก็ตตี้ (Alga Espaguette)
- สาหร่ายสไปรูลิน่า (Alga Spirulina)
- สาหร่ายวากาเมะ (Alga Wakame)
- เมล็ดอัลมอนด์ (Almond)
- หางจระเข้ (Aloe Vera)
- อัลฟ่า-แลคตาบูมิน หรือโปรตีนที่มีส่วนผสมในนม (Alpha-Lactalbumin)
- ผักโขม (Amaranth)
- ปลาแอนโชวี (Anchovy)
- เมล็ดผักชี (Aniseed)
- แอปเปิ้ล (Apple)
- ผลแอปริคอต (Apricot)
- อาร์ติโชก (Artichoke)
- หน่อไม้ฝรั่ง (Asparagus)
- มะเขือม่วง (Aubergine)
- อะโวคาโด (Avocado)
- กล้วย (Banana)
- ข้าวบารเ์ลย์ ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเหล้าและเบียร์ (Barley)
- เพรียง (Barnacle)
- ใบโหระพา (Basil)
- ปลากระพง (Seabass)
- ใบกระวาน (Bayleaf)
- ถั่วปากอ้า (Broad Bean)
- ถั่วแขก (Green Bean)
- ถั่วแดง (Red Kidney Bean)
- ถั่วขาว (White Haricot Bean)
- เนื้อวัว (Beef)
- หัวบีทรูท (Beetroot)
- เบต้า แลกโตโกลบูลิน (Beta-Lactoglobulin)
- แบล็กเบอร์รี (Blackberry)
- แบล็กเคอร์เรนต์ (Blackcurrant)
- บลูเบอร์รี (Blueberry)
- ถั่วบราซิล (Brazil Nut)
- บร็อกโคลี (Broccoli)
- กะหล่ำดาว (Brussel Sprout)
- ข้าวบัควีต (Buckwheat)
- กะหล่ำปลีแดง (Red Cabbage)
- กะหล่ำปลี (White Cabbage)
- เก๊กฮวย (Camomile)
- อ้อย (Cane Sugar)
- เมล็ดเคเปอร์ (Caper)
- เมล็ดแครอบ (Carob)
- ปลาคาร์ป (Carp)
- แครอต (Carrot)
- เคซีน หรือโปรตีนจากนม (Casein)
- มะม่วงหิมพานต์ (Cashew Nut)
- กะหล่ำดอก (Cauliflower)
- ไข่ปลาคาเวียร์ (Caviar)
- พริกคาเยน (Cayenne)
- ผักชีฝรั่ง (Celery)
- ผักชาร์ด (Chard)
- ผลเชอร์รี (Cherry)
- เกาหลี (Chestnut)
- เนื้อไก่ (Chicken)
- ถั่วชิกพี (Chickpea)
- ผักชิโครี (Chicory)
- พริกแดง (Chili)
- อบเชย (Cinnamon)
- หอยกาบ (Clam)
- กานพลู (Clove)
- หอยแครง (Cockle)
- เมล็ดโกโก้ (Cocoa Bean)
- มะพร้าว เนื้อมะพร้าว (Coconut)
- ปลาคอด (Cod)
- กาแฟ (Coffee)
- ถั่วโคล่า (Cola Nut)
- ใบผักชีฝรั่ง (Coriander-Leaf)
- ข้าวโพด (Corn/Maize)
- คูสคูส (Couscous)
- เนื้อปู (Crab)
- แครนเบอร์รี (Cranberry)
- แตงกวา (Cucumber)
- ยี่หร่า (Cumin)
- เครื่องแกง (Mixed Spices)
- หมึกกระดอง (Cuttlefish)
- ผลอินทผาลัม (Date)
- ผักชีลาว (Dill)
- เนื้อเป็ด (Duck)
- ข้าวสาลีดูรัม (Durum Wheat)
- ปลาไหล (Eel)
- ไข่ขาว (Egg White)
- ไข่แดง (Egg Yolk)
- ใบเฟนเนล (Fennel-Leaf)
- มะเดื่อฝรั่ง (Fig)
- เมล็ดป่าน (Flax Seed)
- กระเทียม (Garlic)
- ขิง (Ginger)
- แปะก๊วย (Ginkgo)
- โสม (Ginseng)
- แป้งไกลอะดิน (Gliadin)
- เนื้อแพะ (Goat)
- องุ่นดำ องุ่นแดง องุ่นเขียว (Grape: Black, Red, White)
- เกรปฟรุต (Grapefruit)
- ฝรั่ง (Guava)
- ปลาแฮดด็อก (Haddock)
- ปลาเฮก (Hake)
- ถั่วเฮเซล (Hazelnut)
- ปลาแฮร์ริง (Herring)
- น้ำผึ้ง (Honey)
- ลูกฮอปส์ ใช้ในการผลิตเบียร์ (Hops)
- เนื้อม้า (Horse)
- ผลกีวี (Kiwi)
- เนื้อแกะ (Lamb)
- ต้นหอมญีปุ่น (Leek)
- มะนาวเหลือง (Lemon)
- ถั่วเลนทิล (Lentil)
- ผักกาดหอม (Lettuce)
- มะนาว (Lime)
- ชะเอม (Liquorice)
- กุ้งมังกร (Lobster)
- ลิ้นจี่ (Lychee)
- ถั่วแมคคาเดเมีย (Macadamia Nut)
- ปลาแมกเคอเรล (Mackerel)
- ข้าวมอลต์ (Malt)
- มะม่วง (Mango)
- มาร์เจอแรม เป็นพืชจำพวกมินต์ (Marjoram)
- แฟง เป็นผักตระกูลน้ำเต้า (Marrow)
- เมลอน ได้แก่ แตงไทย แคนตาลูป (Melon: Galia, Honeydew)
- นมควาย (Buffalo Milk)
- นมวัว (Cow Milk)
- นมแพง (Goat Milk)
- นมแกะ (Sheep Milk)
- ข้าวฟ่าง (Millet)
- ใบมินต์ (Mint)
- ปลามังก์ (Monkfish)
- ผลมัลเบอร์รี (Mulberry)
- เห็ด (Mushroom)
- หอยแมลงภู่ (Mussel)
- เมล็ดมัสตาร์ด (Mustard Seed)
- ลูกท้อ (Nectarine)
- ตำแย (Nettle)
- ลูกจันทน์เทศ (Nutmeg)
- ข้าวโอ๊ด (Oat)
- ปลาหมึกยักษ์ (Octopus)
- มะกอก (Olive)
- หัวหอม (Onion)
- ส้ม (Orange)
- นกกระจอกเทศ (Ostrich)
- เนื้อวัว (Ox)
- หอยนางรม (Oyster)
- มะละกอ (Papaya)
- พาร์สลีย์ (Parsley)
- นกกระทาดง (Partridge)
- ถั่วลันเตา (Pea)
- ลูกพีช (Peach)
- ถั่วลิสง (Peanut)
- ลูกแพร์ (Pear)
- พริกหยวกสีเขียว สีแดง สีเหลือง (Pepper: Green, Red, Yellow)
- พริกไทยดำ พริกไทยขาว (Peppercorn: Black, White)
- ใบสะระแหน่ (Peppermint)
- ปลากระพงขาว (Perch)
- ปลาไพก์ (Pike)
- ลูกสน (Pine Nut)
- สัปปะรด (Pineapple)
- ถั่วพิสตาชิโอ (Pistachio)
- ปลาลิ้นหมา (Plaice)
- ลูกพลัม (Plum)
- โพเลนต้า (Polenta)
- ทับทิม (Pomegranate)
- เนื้อหมู (Pork)
- มันฝรั่ง (Potato)
- เนื้อนกกระทา (Quail)
- ควินัว (Quinoa)
- เนื้อกระต่าย (Rabbit)
- หัวไชเท้า (Radish)
- ลูกเกด (Raisin)
- เรปซีด (Rapeseed)
- ราสเบอร์รี (Raspberry)
- หอยหลอด (Razor Clam)
- เรดเคอร์แรนต์ (Redcurrant)
- รูบาร์บ (Rhubarb)
- ข้าวจ้าว (Rice)
- ผักร็อกเก็ต (Rocket)
- โรสแมรี (Rosemary)
- แป้งไรย์ (Rye)
- หญ้าฝรั่น (Saffron)
- เมล็ดเสจ (Sage)
- ปลาแซลมอน (Salmon)
- ปลาซาร์ดีน (Sardine)
- หอยเชลล์ (Scallop)
- ปลาทรายขาว (Gilthead)
- ปลาทรายแดง (Sea Bream-Red)
- งา (Sesame Seed)
- หอมแดง (Shallot)
- กุ้ง (Shrimp/Prawn)
- ปลาตาเดียว (Sole)
- ถั่วเหลือง (Soya Bean)
- แป้งสเปลต์ (Spelt)
- ปวยเล้ง (Spinach)
- สควอช หรือบัตเตอร์นัท (Squash: Butternut/Carnival)
- หมึกกล้วย (Squid)
- สตรอว์เบอร์รี (Strawberry)
- เมล็ดทานตะวัน (Sunflower Seed)
- มันเทศ (Sweet Potato)
- ปลาฉนาก (Swordfish)
- ส้มจีน (Tangerine)
- แป้งมันสำปะหลัง (Tapioca)
- ใบทาร์รากอน (Tarragon)
- ชาดำ (Black Tea)
- ชาเขียว (Green Tea)
- ไธม์ (Thyme)
- แห้วไทย (Tiger Nut)
- มะเขือเทศ (Tomato)
- ทรานส์กลูตามิเนส (Transglutaminase)
- ปลาเทราต์ (Trout)
- ปลาทูน่า (Tuna)
- ปลาเทอร์บอต (Turbot)
- ไก่ง่วง (Turkey)
- หัวผักกาด (Turnip)
- วานิลลา (Vanilla)
- เนื้อลูกวัว (Veal)
- เนื้อกวาง (Venison)
- ถั่ววอลนัต (Walnut)
- วอเตอร์เครส (Watercress)
- แตงโม (Watermelon)
- ข้าวสาลี (Wheat)
- ราข้าวสาลี (Wheat Bran)
- เนื้อหมูป่า (Wild Boar)
- หอยโข่ง (Winkle)
- ยีสต์สำหรับทำขนมปัง (Baker’s yeast)
- บริเวอร์ยีสต์ สำหรับใช้กับเครื่องดื่ม (Brewer’s yeast)
- มันสำปะหลัง (Yuca)
- ค่าบริการ
เกี่ยวกับแพ็กเกจ
ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง
- ชาวต่างชาติสามารถรับบริการได้ โดยต้องเตรียมพาสปอร์ตมาด้วย
- ระยะเวลารับบริการประมาณ 30 นาที ขึ้นอยู่กับจำนวนผู้รับบริการ
- ระยะเวลารอผลตรวจประมาณ 4-7 วัน โดยจะส่งผลตรวจที่ออกก่อนให้ตามอีเมลที่แจ้งไว้เท่านั้น
การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
- ควรนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
- ควรสวมเสื้อที่ถอดง่าย สะดวกต่อการเจาะเลือดที่ข้อพับแขน
- หากมีผลตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดให้นำมาด้วย
- หากมียา วิตามิน หรือสมุนไพร ที่รับประทานเป็นประจำ ควรนำมาด้วยหรือจดบันทึก/ถ่ายรูปฉลากมาแทนได้
- ไม่ต้องงดเครื่องดื่มและอาหาร
การดูแลหลังรับบริการ
- หลังได้รับผลการทดสอบแล้ว สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เพื่อเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสม
ก่อนตัดสินใจ
ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ
- การตรวจภูมิแพ้อาหารแฝงไม่ได้เป็นการวินิจฉัยโรค เป็นเพียงทางเลือกหนึ่งในการดูแลสุขภาพ ช่วยให้เลือกหรือปรับการรับประทานอาหารได้อย่างเหมาะสม
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง
ภูมิแพ้แบบแฝง (Food Intolerance) เป็นภาวะที่ร่างกายไม่สามารถย่อยอาหารบางชนิดได้ตามปกติ แต่จะไม่แสดงอาการทันที จึงไม่สามารถระบุชนิดอาหารที่แพ้ได้ ต่างจากการแพ้ปกติที่แสดงอาการให้เห็นในเวลาอันสั้น แม้การแสดงออกของการแพ้อาหารแบบแฝงจะไม่รุนแรง แต่ก็ทำให้เกิดอาการเรื้อรังอื่นๆ ได้ จึงควรรีบตรวจหาต้นตอเพื่อการรักษาและดูแลอาการอย่างถูกต้องต่อไป
สาเหตุ
การแพ้อาหารแฝง เกิดได้จากหลายสาเหตุ แต่มี 2 สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด คือ
- ร่างกายขาดเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการย่อยอาหารนั้นๆ ทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ร่างกายไวต่อสารบางชนิดในอาหาร เช่น สารปรุงแต่ง หรือสารที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติในอาหาร อาการจะมีมากขึ้นเมื่อรับประทานอาหารชนิดนั้นมากเกินไป
อาการที่พบบ่อย
- ท้องอืด
- ท้องผูก
- ปวดท้อง
- ท้องเสีย
- ปวดศีรษะ
- ไอ
- น้ำมูกไหล
- ครั่นเนื้อครั่นตัว
- อ่อนเพลีย
- มีผื่นคัน
- ลมพิษ
แม้อาการเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งจากภูมิแพ้อาหารแฝงและปัญหาสุขภาพอื่นๆ แต่หากมีอาการบ่อยๆ หรือรุนแรง ควรพบแพทย์เพื่อรักษา
วิธีตรวจอาการแพ้อาหารแฝงด้วยตัวเอง
- จดบันทึกรายการอาหารที่รับประทานและอาการที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น
- งดรับประทานอาหารที่สงสัยว่า อาจเป็นสาเหตุทีละชนิด ราว 2-6 สัปดาห์
- กลับไปรับประทานอาหารชนิดนั้นอีกครั้ง หากกลับมามีอาการ ก็เป็นไปได้ว่าสาเหตุมาจากอาหารชนิดนั้น
นอกจากนี้ยังสามารถเข้ารับการตรวจเลือดหาภูมิคุ้มกันในเลือดที่จำเพาะต่ออาหารแต่ละชนิด (Food Specific IgG) เพื่อช่วยระบุชนิดอาหารที่มีความเป็นไปได้ที่จะทำให้เกิดภาวะภูมิแพ้อาหารแฝงได้
หมายเหตุ
- หลังจากได้รับผลการทดสอบแล้วนั้น สามารถนำผลที่ได้มาปรับใช้เลือกกินอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดอาหารที่ส่งเสริมอาการแพ้
- ไม่ใช่โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี จึงไม่จำเป็นต้องตรวจทุกปี
อ
โรงพยาบาลและคลินิกอื่น ที่ให้บริการ ตรวจภูมิแพ้อาหารแฝง ราคา เท่าไรบ้าง? เช็กราคาพร้อมโปรโมชั่นได้ที่นี่
วิธีชำระและใช้งาน
วิธีซื้อแพ็กเกจของ bewellasia.co ผ่าน HDmall
วิธีการจ่ายเงินและการใช้คูปอง
- กดชำระเงินออนไลน์
- รับคูปองทางอีเมลภายใน 24 ชั่วโมง
- โทรนัดหรือเลื่อนนัดกับคลินิกได้โดยตรงตามข้อมูลในคูปอง
- ยื่นคูปองที่คลินิกเพื่อรับบริการ
เงื่อนไขการใช้คูปอง
- คุณสามารถเลื่อนนัดได้ด้วยตัวเอง ตามเบอร์โทรศัพท์หรือไลน์ที่ระบุไว้ในคูปอง ก่อนวันนัดอย่างน้อย 1-3 วันทำการ แต่ต้องรับบริการก่อนคูปองหมดอายุ (คูปองมีอายุ 60 วัน)
- สามารถซื้อแพ็กเกจให้คนอื่นได้ เพียงแจ้งชื่อผู้จะรับบริการให้แอดมินทราบ เพื่อจะได้ระบุบนคูปอง
- อาจมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของสถานที่ให้บริการ สามารถจ่ายที่ห้องปฏิบัติการได้โดยตรง
- สำหรับแพ็กเกจแบบคอร์ส ต้องรับบริการครั้งแรกก่อนคูปองหมดอายุ ส่วนครั้งต่อๆ ไปขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของคลินิก
เงื่อนไขการให้บริการ และราคาของ bewellasia.co อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามแผนการส่งเสริมการขาย ท่านสามารถตรวจสอบเงื่อนไขการให้บริการ และราคาล่าสุดได้จากแอดมิน HDmall.co.th