การตรวจยีนมะเร็งทางพันธุกรรม เป็นการตรวจหายีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็ง เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งบางชนิดในอนาคต
รายละเอียด
ทำไมคนอื่นซื้อแพ็กเกจนี้?
🧬 ตรวจคัดกรองยีนมะเร็งและโรคหัวใจอย่างละเอียด! คุณเคยรู้สึกวิตกกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งหรือโรคหัวใจที่อาจถ่ายทอดทางพันธุกรรมอยู่ไหม? หากคุณมีประวัติครอบครัวที่มีคนเป็นมะเร็ง หรือมีความกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของตนเอง การตรวจคัดกรองยีนถือเป็นขั้นตอนสำคัญในการดูแลสุขภาพของคุณ!
🏥 โปรแกรม Legend DNA Test ที่ BRIA Health Center มีความครอบคลุมตรวจคัดกรองยีนมะเร็ง 13 รายการ รวมถึงโรคหัวใจถ่ายทอดทางพันธุกรรม 4 กลุ่ม และโรคทางพันธุกรรมอีก 42 รายการ เพื่อช่วยให้คุณทราบถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
💡 ทำไมต้องตรวจคัดกรองยีน?
- การตรวจวิเคราะห์ยีนจะช่วยให้คุณทราบถึงความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง ทำให้คุณสามารถวางแผนการใช้ชีวิตได้ดียิ่งขึ้น
- สามารถป้องกันตนเองจากพฤติกรรมที่เพิ่มโอกาสในการเกิดโรคมะเร็งได้
- ช่วยให้คุณเตรียมพร้อมทางอารมณ์และสุขภาพสำหรับอนาคต
อย่ารอช้า! จองบริการ กับเราได้ง่ายๆ ผ่าน HDmall.co.th เพื่อทำการตรวจในวันนี้และรับข้อมูลที่สำคัญในการดูแลสุขภาพของคุณ! 📅
เริ่มต้นการดูแลสุขภาพที่ดีด้วยการตรวจคัดกรองยีนที่ BRIA Health Center!
รายละเอียด
รายละเอียดราคา ตรวจคัดกรองโรคทางพันธุกรรม
ราคานี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง?
- ค่าตรวจคัดกรองยีนมะเร็ง 13 รายการ และโรคหัวใจที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม 4 กลุ่ม และโรคทางพันธุกรรม 42 รายการ (โปรแกรม Legend DNA Test) ประกอบด้วย
- ตรวจคัดกรองยีนมะเร็ง 13 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
1. ตรวจมะเร็งเต้านม (Breast Cancer)
2. ตรวจมะเร็งรังไข่ (Ovarian Cancer)
3. ตรวจมะเร็งปากมดลูก (Uterine Cancer)
4. ตรวจมะเร็งตับอ่อน (Pancreatic Cancer)
5. ตรวจมะเร็งลำไส้ (Colorectal Cancer)
6. ตรวจมะเร็งกระเพาะอาหาร (Gastric Cancer)
7. ตรวจมะเร็งทางเดินปัสสาวะ (Renal/Urinary Tract Cancer)
8. ตรวจมะเร็งสมอง (Brain Cancer)
9. ตรวจมะเร็งเม็ดเลือด (Hematologic Cancer)
10. ตรวจมะเร็งผิวหนังชนิดเม็ดสี (Melanoma)
11. ตรวจมะเร็งต่อมไทรอยด์ (Thyroid Cancer)
12. ตรวจมะเร็งเนื้อเยื่อซาร์โคมา (Sarcoma)
13. ตรวจมะเร็งต่อมลูกหมาก (Prostate Cancer) - ตรวจคัดกรองโรคหัวใจที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม 4 กลุ่ม มีรายการตรวจดังนี้
1. กลุ่มโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia)
2. กลุ่มโรคหลอดเลือดแดงผิดปกติ (Arteriopathy)
3. กลุ่มโรคกล้ามเนื้อหัวใจเต้นผิดปกติ (Cardiomyopathy)
4. ภาวะคอเลสเตอรอลในเลือดสูงที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ (Familial Hypercholesterolemia) - ตรวจคัดกรองโรคทางพันธุกรรม 42 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
1. Alpha-Thalassemia
2. Bloom Syndrome
3. Canavan Disease
4. Citrullinemia Type 1
5. Congenital Disorder of Glycosylation (PMM2-Related)
6. Cystic Fibrosis and Other CFTR-Related Disorders
7. Dihydrolipoamide Dehydrogenase Deficiency (DLD)
8. DMD-Related Dystrophinopathy (Including Duchenne/Becker Muscular Dystrophy and Dilated Cardiomyopathy)
9. Familial Dysautonomia
10. Familial Hyperinsulinism (ABCC8-related)
11. Fanconi Anemia Type C
12. FKTN-Related Disorders (Including Walker-Warburg Syndrome)
13. Fragile X Syndrome
14. Galactosemia (GALT-Related)
15. Gaucher Disease
16. GJB2-Related DFNB1 Nonsyndromic Hearing Loss and Deafness
17. Glucose-6-Phosphate Dehydrogenase (G6PD) Deficiency
18. Glycogen Storage Disease Type La
19. Glycogen Storage Disease Type II (Pompe Disease)
20. HBB-Related Hemoglobinopathies (Including Beta-Thalassemia and Sickle Cell Disease)
21. Krabbe Disease
22. Maple Syrup Urine Disease (MSUD) Type 1A
23. Maple Syrup Urine Disease (MSUD) Type 1B
24. Medium Chain Acyl-CoA Dehydrogenase (MCAD) Deficiency
25. Mucolipidosis Type IV
26. Mucopolysaccharidosis Type I (Including Hurler, Hurler-Scheie, and Scheie Syndromes)
27. Nemaline Myopathy 2
28. Neuronal Ceroid-Lipofuscinosis (CLN3-Related)
29. Niemann-Pick Disease Type A/B
30. Pendred Syndrome
31. Phenylalanine Hydroxylase Deficiency (Including Phenylketonuria: PKU)
32. Polycystic Kidney Disease (PKHD1-Related)
33. Rhizomelic Chondrodysplasia Punctata Type 1/Refsum Disease (PEX7-Related)
34. Smith-Lemli-Opitz Syndrome
35. Spinal Muscular Atrophy
36. Tay-Sachs Disease/Hexosaminidase A Deficiency
37. TMEM216-Related Disorders (Including Joubert Syndrome 2 and Meckel Syndrome 2)
38. Tyrosinemia Type I
39. Usher Syndrome Type IF/PCDH15-Related Disorders
40. Usher Syndrome Type IIA/USH2A-Related Disorders
41. Usher Syndrome Type IlIA
42. Zellweger Spectrum Disorder (PEX1-Related)
- ตรวจคัดกรองยีนมะเร็ง 13 รายการ มีรายการตรวจดังนี้
- ค่าบริการ
เกี่ยวกับแพ็กเกจ
ข้อควรรู้เกี่ยวกับแพ็กเกจ ตรวจคัดกรองโรคทางพันธุกรรม
- ระยะเวลารับบริการประมาณ 30-60 นาที ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของผู้รับบริการ
- ควรนัดหมายล่วงหน้าก่อนเข้ารับบริการ
- แจ้งผลตรวจทางอีเมล หากลูกค้าต้องการให้อธิบายผล สามารถนัดเข้ามาที่คลินิกได้ จะมีเจ้าหน้าที่เทคนิคการแพทย์ช่วยอธิบายให้
- ทาง BRIA ไม่มีแพทย์อ่านผลให้ มีเพียงนักเทคนิคการแพทย์ช่วยอ่านผลให้ แนะนำให้นำผลไปปรึกษาแพทย์ที่โรงพยาบาล
การเตรียมตัวก่อนรับบริการ
- เตรียมข้อมูลประวัติทางการแพทย์ของตนเอง และครอบครัว (เช่น ประวัติการเป็นมะเร็ง) หากมีสมุดรายงานผลการตรวจก่อนหน้า ควรนำมาให้แพทย์ในวันรับบริการ
- งดอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิด ก่อนเข้ารับบริการอย่างน้อย 12 ชั่วโมง แต่สามารถดื่มน้ำเปล่าได้ตามปกติ
- งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิดอย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนรับบริการ
- งดสูบบุหรี่
- หากตรวจพันธุกรรมจากน้ำลาย ควรงดอาหาร และเครื่องดื่มทุกชนิดรวมถึงน้ำเปล่า ห้ามแปรงฟันอย่างน้อย 1 ชั่วโมงก่อนรับบริการ
ก่อนตัดสินใจ
ข้อควรรู้ก่อนตัดสินใจ
ผู้เหมาะกับบริการนี้
- บุคคลทั่วไปที่ต้องการทราบความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็งที่แฝงมากับยีน
- ผู้ที่มีคนในครอบครัวสายตรงเป็นมะเร็งมากกว่า 2 คนขึ้นไป
- ผู้ที่มีคนในครอบครัวป่วยเป็นมะเร็งตั้งแต่อายุน้อยกว่า 20 ปี
- ผู้ที่มีสมาชิกในครอบครัวได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งจากพันธุกรรม
- ผู้ที่เป็นมะเร็งอยู่แล้ว ซึ่งมีโอกาสถ่ายทอดทางพันธุกรรมสูง (การตรวจเป็นไปเพื่อหาแนวทางการรักษาที่เหมาะสมที่สุด)
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการตรวจคัดกรองโรคทางพันธุกรรม
โรคมะเร็งทางพันธุกรรม เป็นโรคมะเร็งที่สามารถถ่ายทอดได้จากรุ่นสู่รุ่น และสามารถเกิดได้ตั้งแต่อายุยังน้อย ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งทั่วไปเริ่มตั้งแต่อายุ 50 ปี ในขณะที่กลุ่มโรคมะเร็งทางพันธุกรรมจะมีความเสี่ยงตั้งแต่ช่วงอายุ 40 ปีหรือน้อยกว่านั้น
การตรวจพันธุกรรมโรคมะเร็ง
เป็นการตรวจหาความเปลี่ยนแปลงของยีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็งที่ได้รับการถ่ายทอดมาแต่กำเนิด เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งบางชนิดในอนาคต
การตรวจหายีนโรคมะเร็งทางพันธุกรรม มีข้อดีอย่างไร?
- สามารถช่วยให้คาดการณ์ได้ว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งแค่ไหน เพื่อจะได้วางแผนการใช้ชีวิตในอนาคต
- ช่วยให้เลี่ยงพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเพิ่มโอกาสก่อให้เกิดโรคมะเร็งมากขึ้น
- ช่วยในการวางแผนชีวิตหลังแต่งงานได้ดีขึ้น ทำให้สามารถเลือกเก็บไข่หรือเชื้อที่ไม่มียีนโรคมะเร็งทางพันธุกรรมและโรคร้ายอื่นๆ ลดความเสี่ยงที่จะส่งต่อถึงรุ่นลูกได้อีกทางหนึ่ง
วิธีการตรวจพันธุกรรมโรคมะเร็ง
การตรวจพันธุกรรมโรคมะเร็งสามารถตรวจได้จากเลือด ซึ่งในปัจจุบันเป็นวิธีที่มีความแม่นยำค่อนข้างสูง และสะดวกมากที่สุด
ยีนที่เกี่ยวข้องกับการเกิดมะเร็งมีถึงกว่า 500 ชนิด ซึ่งการตรวจพันธุกรรมโรคมะเร็งที่สามารถตรวจได้ในปัจจุบันมีหลายชนิด ได้แก่ มะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ มะเร็งลำไส้ มะเร็งไทรอยด์ มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งตับอ่อน มะเร็งผิวหนัง มะเร็งไต มะเร็งกระเพาะอาหาร เป็นต้น
วิธีชำระและใช้งาน
วิธีซื้อแพ็กเกจของ BRIA Health Center ผ่าน HDmall
วิธีการจ่ายเงินและการใช้คูปอง
- กดชำระเงินออนไลน์
- รับคูปองทางอีเมลภายใน 24 ชั่วโมง
- โทรนัดหรือเลื่อนนัดกับคลินิกได้โดยตรงตามข้อมูลในคูปอง
- ยื่นคูปองที่คลินิกเพื่อรับบริการ
เงื่อนไขการใช้คูปอง
- คุณสามารถเลื่อนนัดได้ด้วยตัวเอง ตามเบอร์โทรศัพท์หรือไลน์ที่ระบุไว้ในคูปอง ก่อนวันนัดอย่างน้อย 1-3 วันทำการ แต่ต้องรับบริการก่อนคูปองหมดอายุ (คูปองมีอายุ 60 วัน)
- สามารถซื้อแพ็กเกจให้คนอื่นได้ เพียงแจ้งชื่อผู้จะรับบริการให้แอดมินทราบ เพื่อจะได้ระบุบนคูปอง
- อาจมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของสถานที่ให้บริการ สามารถจ่ายที่คลินิกได้โดยตรง
- สำหรับแพ็กเกจแบบคอร์ส ต้องรับบริการครั้งแรกก่อนคูปองหมดอายุ ส่วนครั้งต่อๆ ไปขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของคลินิก
เงื่อนไขการให้บริการ และราคาของ BRIA Health Center อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามแผนการส่งเสริมการขาย ท่านสามารถตรวจสอบเงื่อนไขการให้บริการ และราคาล่าสุดได้จากแอดมิน HDmall.co.th