การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เป็นหนึ่งในวิธีรักษาผู้ที่มีภาวะอ้วนให้กลับมามีน้ำหนักตัวปกติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้กลับมามีสุขภาพร่างกายแข็งแรง อีกทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคที่มาพร้อมโรคอ้วน เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือข้อเข่าเสื่อมได้อีกด้วย
ตอบคำถามโดย นาวาโท นพ.คมเดช ธนวชิระสิน แพทย์ศัลยกรรมผ่าตัดโรคอ้วนและเมตาโบลิค จาก โรงพยาบาลพระรามเก้า
สารบัญ
- รวมคำถาม-คำตอบ ผ่าตัด ลดขนาดกระเพาะอาหาร ตอบโดยแพทย์
- การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร คืออะไร?
- การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร มีกี่รูปแบบ?
- การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารให้เล็กลง ทำอย่างไร?
- การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร วิธีไหนได้ผลดีที่สุด?
- ผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เพื่อลดน้ำหนัก หรือลดความอ้วน มีหลักการรักษาอย่างไร?
- การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร ทำให้ผอมได้อย่างไร?
- นอกจากลดน้ำหนักแล้ว การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารยังช่วยให้โรคเบาหวาน หรือค่าระดับความดันโลหิตดีขึ้นได้ จริงหรือไม่?
- ช่วงอายุใดที่สามารถเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร?
- การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เหมาะกับใคร?
- ใครที่ไม่ควรเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร?
- ความเสี่ยง หรือภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร มีอะไรบ้าง แก้ไขอย่างไร?
- ก่อนเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร ควรเตรียมตัวอย่างไร?
- ระยะเวลาในการพักฟื้นหลังผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เป็นอย่างไร ต้องนอนพักฟื้นที่โรงพยาบาลกี่วัน?
- ผลลัพธ์ในการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เป็นอย่างไร ใช้ระยะเวลาเท่าไรกว่าจะเห็นผลชัดเจน?
- อาหารที่สามารถรับประทานได้ หลังเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร มีอะไรบ้าง?
- อาหารที่ไม่สามารถรับประทานได้ หลังเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร มีอะไรบ้าง?
- การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารเพื่อลดน้ำหนัก มีแนวโน้มจะกลับมาเป็นโรคอ้วนได้อีกหรือไม่?
- ผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร ส่งผลต่อการดูดซึมสารอาหารหรือไม่?
- หลังผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร จำเป็นต้องรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และแร่ธาตุ หรือไม่?
- ความถี่ในการเข้ารับการตรวจติดตามผลหลังการรักษาผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เป็นอย่างไร?
- หลังเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร สามารถดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือกาแฟ ได้หรือไม่
- หลังเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เพื่อลดน้ำหนัก ผิวหนังจะย้วยหรือไม่?
รวมคำถาม-คำตอบ ผ่าตัด ลดขนาดกระเพาะอาหาร ตอบโดยแพทย์
การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร คืออะไร?
การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร ในอดีตใช้รักษาผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะอาหาร หรือโรคแผลในกระเพาะอาหารต่างๆ ที่จำเป็นต้องผ่าตัดเอากระเพาะอาหารส่วนที่ไม่ดีออกไป ซึ่งผลที่ตามมาคือ ทำให้ผู้เข้ารับการรักษามีน้ำหนักตัวลดลง โรคประจำตัวต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน หรือค่าระดับความดันโลหิตดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด จึงได้มีการศึกษาอย่างจริงจัง แล้วนำมาใช้รักษาในผู้ที่เป็นโรคอ้วนในปัจจุบัน – ตอบโดย นาวาโท นพ.คมเดช ธนวชิระสิน
การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร มีกี่รูปแบบ?
การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารให้เล็กลง ทำอย่างไร?
การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร วิธีไหนได้ผลดีที่สุด?
ผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เพื่อลดน้ำหนัก หรือลดความอ้วน มีหลักการรักษาอย่างไร?
การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร ทำให้ผอมได้อย่างไร?
นอกจากลดน้ำหนักแล้ว การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารยังช่วยให้โรคเบาหวาน หรือค่าระดับความดันโลหิตดีขึ้นได้ จริงหรือไม่?
ช่วงอายุใดที่สามารถเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร?
การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เหมาะกับใคร?
ใครที่ไม่ควรเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร?
ความเสี่ยง หรือภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร มีอะไรบ้าง แก้ไขอย่างไร?
ก่อนเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร ควรเตรียมตัวอย่างไร?
ระยะเวลาในการพักฟื้นหลังผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เป็นอย่างไร ต้องนอนพักฟื้นที่โรงพยาบาลกี่วัน?
ผลลัพธ์ในการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เป็นอย่างไร ใช้ระยะเวลาเท่าไรกว่าจะเห็นผลชัดเจน?
อาหารที่สามารถรับประทานได้ หลังเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร มีอะไรบ้าง?
อาหารที่ไม่สามารถรับประทานได้ หลังเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร มีอะไรบ้าง?
การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารเพื่อลดน้ำหนัก มีแนวโน้มจะกลับมาเป็นโรคอ้วนได้อีกหรือไม่?
ผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร ส่งผลต่อการดูดซึมสารอาหารหรือไม่?
หลังผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร จำเป็นต้องรับประทานอาหารเสริม วิตามิน และแร่ธาตุ หรือไม่?
ความถี่ในการเข้ารับการตรวจติดตามผลหลังการรักษาผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เป็นอย่างไร?
หลังเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร สามารถดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือกาแฟ ได้หรือไม่
หลังเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร เพื่อลดน้ำหนัก ผิวหนังจะย้วยหรือไม่?
ขึ้นอยู่กับน้ำหนักตัวตั้งต้นของผู้เข้ารับการรักษา หากผ่านไปแล้ว 1 ปี มีผิวหนังย้วย ก็สามารถเข้ารับการผ่าตัดตกแต่งเอาหนังออกเพื่อความสวยงามได้ อย่างไรก็ตาม หากปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์จะช่วยลดการเกิดผิวหนังย้วยได้