HPV รู้ไว้ไม่เสี่ยง ไวรัสร้ายป้องกันได้!

HPV (Human Papilloma Virus) เชื้อไวรัสร้ายที่เป็นสาเหตุหลักของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งอื่นๆ เช่น มะเร็งช่องคลอด, มะเร็งปากช่องคลอด, มะเร็งทวารหนัก, มะเร็งช่องปากและลำคอ รวมถึงหูดหงอนไก่ ซึ่งติดต่อได้ง่ายแค่สัมผัสหรือเสียดสีกันในบริเวณที่มีเพศสัมพันธ์

hpvhubtest

HPV น่ากลัวยังไง?

ทุก 2 ชั่วโมง

มีคนไทย 1 คนเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งที่เกิดจากเชื้อ HPV

มีมากกว่า 200 สายพันธุ์

HPV มีหลายสายพันธุ์ ก่อให้เกิดได้ทั้งมะเร็งปากมดลูก มะเร็งช่องคลอด มะเร็งปากช่องคลอด มะเร็งช่องปากและลำคอ มะเร็งทวารหนัก และหูดหงอนไก่

ติดง่ายแค่สัมผัส

เพียงแค่สัมผัสเชื้อผ่านทางอวัยวะเพศ ช่องคลอด ช่องปาก ทวารหนัก หรือการใช้ sex toy ร่วมกัน ก็ติดเชื้อ HPV ได้

ใครเสี่ยงติด HPV บ้าง?

เด็ก
แม้เด็กจะดูเหมือนไม่เสี่ยง แต่ยิ่งโตความเสี่ยงยิ่งมากขึ้น การมีเพศสัมพันธ์ในอนาคตอาจทำให้ติดเชื้อ HPV และนำไปสู่มะเร็งได้​
ผู้หญิง
มะเร็งปากมดลูก เป็นโรคที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ของผู้หญิงไทย ซึ่งมีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัส HPV​
ผู้ชาย
HPV ไม่ได้ทำให้เกิดแค่มะเร็งปากมดลูกในผู้หญิงเท่านั้น แต่ยังทำให้เกิดมะเร็งช่องปากและลำคอ มะเร็งทวารหนัก และหูดหงอนไก่ได้ด้วย​
LGBTQ
ไม่ว่าจะชายรักชาย หรือหญิงรักหญิง ก็เสี่ยงติดเชื้อ HPV และทำให้เกิดมะเร็งได้ รวมถึงกลุ่มผู้หญิงข้ามเพศที่มีช่องคลอดใหม่แล้วก็เสี่ยงติดเชื้อและเกิดมะเร็งที่ช่องคลอดใหม่ได้เหมือนกัน​

ใครเสี่ยงติด HPV บ้าง?

879

เด็ก

แม้เด็กจะดูเหมือนไม่เสี่ยง แต่ยิ่งโตความเสี่ยงยิ่งมากขึ้น การมีเพศสัมพันธ์ในอนาคตอาจทำให้ติดเชื้อ HPV และนำไปสู่มะเร็งได้

789

ผู้หญิง

มะเร็งปากมดลูก เป็นโรคที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ของผู้หญิงไทย ซึ่งมีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัส HPV

5678

ผู้ชาย

HPV ไม่ได้ทำให้เกิดแค่มะเร็งปากมดลูกในผู้หญิงเท่านั้น แต่ยังทำให้เกิดมะเร็งช่องปากและลำคอ มะเร็งทวารหนัก และหูดหงอนไก่ได้ด้วย

987

LGBTQ

ไม่ว่าจะชายรักชาย หรือหญิงรักหญิง ก็เสี่ยงติดเชื้อ HPV และทำให้เกิดมะเร็งได้ รวมถึงกลุ่มผู้หญิงข้ามเพศที่มีช่องคลอดใหม่แล้วก็เสี่ยงติดเชื้อและเกิดมะเร็งที่ช่องคลอดใหม่ได้เหมือนกัน

วิธีป้องกันการติดเชื้อ HPV

Frame 32733874

ฉีดวัคซีน HPV

วัคซีน HPV เป็นวิธีป้องกันที่มีประสิทธิภาพสูง ช่วยลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ HPV สายพันธุ์ที่ทำให้เกิดมะเร็งและหูดหงอนไก่ได้

Frame 32733874

ป้องกันก่อนมีเพศสัมพันธ์

ทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ควรป้องกันด้วยการใช้ถุงยางอนามัย ถึงแม้ถุงยางจะไม่สามารถป้องกัน HPV ได้ 100% แต่ก็ช่วยลดความเสี่ยงได้

Frame 32733874

ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

ผู้หญิงควรตรวจคัดกรองตามช่วงอายุที่แพทย์แนะนำ

Frame 32733896

วัคซีน HPV 9 สายพันธุ์ มีข้อดีอะไรอีกบ้าง?

  • ป้องกันได้ครอบคลุม
    วัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุ์ ป้องกันได้ทั้งสายพันธุ์ 16, 18, 31, 33, 45, 52 และ 58 ที่เป็นสาเหตุของมะเร็งต่างๆ รวมถึงสายพันธุ์ 6 และ 11 ที่เป็นสาเหตุของหูดหงอนไก่

  • ฉีดได้ทุกเพศ ทุกวัย
    วัคซีน HPV เริ่มฉีดได้ตั้งแต่อายุ 9 ปีขึ้นไป รวมถึงยังสามารถฉีดได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย

  • ป้องกันได้มากกว่า 90%
    วัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุ์ ช่วยป้องกันการติดเชื้อ HPV ที่เป็นสาเหตุหลักของมะเร็งปากมดลูกได้ถึง 94%

  • ฉีดครั้งเดียวป้องกันได้มากกว่า 10 ปี
    เมื่อฉีดวัคซีน HPV ครบคอร์ส จะสามารถป้อวกันได้ยาวๆ มากกว่า 14 ปี โดยไม่ต้องฉีดกระตุ้น

Frame 32733896

วัคซีน HPV 9 สายพันธุ์ มีข้อดีอะไรอีกบ้าง?

· ป้องกันได้ครอบคลุม
วัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุ์ ป้องกันได้ทั้งสายพันธุ์ 16, 18, 31, 33, 45, 52 และ 58 ที่เป็นสาเหตุของมะเร็งต่างๆ รวมถึงสายพันธุ์ 6 และ 11 ที่เป็นสาเหตุของหูดหงอนไก่

· ฉีดได้ทุกเพศ ทุกวัย
วัคซีน HPV เริ่มฉีดได้ตั้งแต่อายุ 9 ปีขึ้นไป รวมถึงยังสามารถฉีดได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย

· ป้องกันได้มากกว่า 90%
วัคซีน HPV ชนิด 9 สายพันธุ์ ช่วยป้องกันการติดเชื้อ HPV ที่เป็นสาเหตุหลักของมะเร็งปากมดลูกได้ถึง 94%

· ฉีดครั้งเดียวป้องกันได้มากกว่า 10 ปี
เมื่อฉีดวัคซีน HPV ครบคอร์ส จะสามารถป้อวกันได้ยาวๆ มากกว่า 14 ปี โดยไม่ต้องฉีดกระตุ้น

ถ้าจะฉีดวัคซีน HPV ต้องฉีดกี่เข็ม?​

ถาม-ตอบ คำถามยอดฮิตวัคซีน HPV

Group 32733071

ผลข้างเคียงที่พบบ่อย คือ ปวด บวม แดง และร้อนบริเวณที่ฉีด ซึ่งอาการจะดีขึ้นเองภายใน 2-3 วัน

HPV มีมากกว่า 100 สายพันธุ์ ถึงเคยตรวจพบเชื้อก็ยังต้องฉีดวัคซีนอยู่

HPV อาจติดมาก่อนมีแฟนคนปัจจุบัน หรือบางครั้งติดโดยไม่มีอาการ ทำให้ไม่รู้ตัว

วัคซีน HPV ได้ผลดีที่สุดถ้าฉีดก่อนมีเพศสัมพันธ์ เพราะร่างกายยังไม่มีเชื้อเลย แต่ถ้าเคยมีเพศสัมพันธ์แล้วก็ยังฉีดได้อยู่ แค่ประสิทธิภาพอาจลดลงเล็กน้อย

ฉีดไม่ครบควรไปฉีดต่อให้ครบ ไม่ต้องเริ่มใหม่ แต่ต้องฉีดตามคำแนะนำของแพทย์

ถ้าเคยฉีดวัคซีน HPV 2 หรือ 4 สายพันธุ์ครบทุกเข็มแล้ว สามารถฉีดวัคซีน HPV 9 สายพันธุ์ได้ แต่ควรเว้นระยะห่างจากกันก่อนอย่างน้อย 1 ปี

Scroll to Top